หน้าแรกเศรษฐกิจ-การเงินปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2563 เล็กน้อยจาก 2.8% เป็น 2.7%

ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2563 เล็กน้อยจาก 2.8% เป็น 2.7%

ดร.ยรรยง  ไทยเจริญ  รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุด Economic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)  คาดเศรษฐกิจไทยปี 2563 เติบโตที่ 2.7 % ฟื้นตัวเล็กน้อยจากปี 2562 ที่คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวที่ 2.5% ตามภาคส่งออกจะมีแนวโน้มดีขึ้นบ้าง ตามความเสี่ยงระยะสั้นของสงครามการค้าที่ลดลง ด้านอุปสงค์ในประเทศของภาคเอกชน มีแนวโน้มขยายตัวได้แต่ในอัตราที่ชะลอตัวลง รวมถึงแนวนโยบายการเงินและการคลงั ของหลายประเทศทั่วโลกที่มีทิศทางผ่อนคลายเพื่อประคับประคองเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี เงินบาทที่แข็งค่าสะสมกว่า 24% เมื่อเทียบกับคู่ค้าคู่แข่งในช่วง 6 ปี ที่ผ่านมาและยังมีแนวโน้มทรงตัวในระดับแข็งค่าต่อเนื่อง จะยังเป็นปัจจัยกดดันต่อรายได้ผู้ส่งออกในรูปเงินบาทและ ความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของสินค้าส่งออกไทย รวมถึงรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติผ่านการใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่ ชะลอตวัลงนอกจากนนั้แม้จานวนของนักเที่ยวจะยงัขยายตัวได้แต่ก็เติบโตในอตัราที่ชะลอลงเช่นกัน

ด้านอุปสงค์ในประเทศของภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวได้แต่ในอัตราที่ชะลอลงโดยแม้ว่าภาคส่งออกจะมีโอกาสฟื้นตัวแต่การ บริโภคและการลงทุนภาคเอกชนยังมีทิศทางชะลอตัวต่อเนื่องตามหลายปัจจัยกดดัน ไม่ว่าจะเป็นการลดลงของการจ้างงานโดยเฉพาะ ในภาคอตุสาหกรรมความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดต่ำต่อเนื่อง รายได้นอกภาคเกษตรที่เริ่มหดตัวส่วนรายได้ภาคเกษตรก็มีแนวโน้มได้รับผลกระทบ จากภัยแล้งรวมถึงหนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงล้วนส่งผลกระทบต่อการจับจ่ายใช้สอยของครัวเรือนโดยเฉพาะในหมวดสินค้าคงทนในระยะ ต่อไป สว่นด้านการลงทนุ ภาคเอกชน นอกจากจะมีแนวโน้มชะลอลงตามกำลังซืเอในประเทศแล้ว อตัราการใช้กาลังการผลิต (CapU) ที่อยู่ในระดับต่ำและระดับสินค้าคงคลัง(inventory) ภาคอุตสาหกรรมที่อยู่ในระดับสูงที่จะส่งผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชนในระยะ ข้างหน้านอกจากนี้ยอดขายรถยนต์เพื่อการบริโภคและการพาณิชย์ที่มีแนวโน้มหดตวั ตอ่ เนื่องรวมถึงการก่อสร้างภาคอสงั หาริมทรัพย์ที่ได้รับ ผลกระทบจากมาตรการ LTV ในช่วงก่อนหน้า ก็จะเป็นอีกปัจจยั กดดนั ภาคอปุสงค์ในประเทศในระยะต่อไป อย่างไรก็ดี ภาครัฐจะเข้ามามี บทบาทมากขึ้นในการประคับประคองเศรษฐกิจปี 2563 ทั้งในรูปแบบการกระตุ้นเศรษฐกิจและดูแลกลุ่มเปราะบางระยะสั้นการลงทนุ โครงสร้างพื้นฐาน และการกาหนดแนวนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนนุการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชน(Enabler)โดยเฉพาะการเปิดประมลู โครงการ 5G ที่จะผลักดันให้เกิดการลงทนุภาคโทรคมนาคมและอตุสาหกรรมที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ประกอบกับการจัดการทำงบประมาณที่ล้าช้าจาก เมื่อปลายปี 2562 จึงทาให้หลายโครงการมีการเลอื่อนเบิกจ่ายมาในปี 2563

สำหรับภาวะการเงอนในประเทศ อัตราดอกเบี้ยจะยังอยู่ในระดับต่ำต่อเนื่องทั้งปี ขณะท่ีเงินบาทจะมีแรงกดดันให้อยู่ในระดับแข็งค่า ต่อเนื่องคาดว่าคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) จะยังใช้นโยบายการเงินในระดับผ่อนคลายต่อเนื่องเพื่อช่วยสนับสนุน การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดย กนง. มีแนวโน้มที่จะคงอตัราดอกเบีย้ที่ 1.25 % ตลอดทั้งปี 2563 และอาจปรับลดอตัราดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มเติม อีก 1 ครั้ง หากเศรษฐกิจชะลอตัวมากกว่าที่คาด สาหรับค่าเงินบาทมีแนวโน้มทรงตัว

ในระดับแข็งค่าต่อเนื่อง โดยคาดว่าอตัราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นปี 2563 จะอยู่ในช่วง 29.5–30.5 บาทตอ่ดอลลาร์สหรัฐ ตามแรงกดดันของดลุบญัชีเดินสะพัดไทยที่ยังเกินดลุในระดบัสูงขณะที่การเปิด เสรีการลงทนุในต่างประเทศเพิ่มเติมทั้งด้านการทำธุรกิจและการลงทุน ในหลกชักทรัพย์ต่างประเทศจะมีส่วนลดแรงกดดันค่าเงินบาทได้ค่อนข้างจำกัดในระยะสั้นและคงต้องใช้เวลาในการลดข้อจำกัดเชิงโครงสร้างเช่นการเพิ่มความรู้ความเข้าใจทางการเงินการยกระดับความสามารถในการลงทนุนต่างประเทศ ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ยังเป็นอปุสรรค จึงจะทำให้มีเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกในระดับสงูและสามารถลดแรงกดดันต่อการแข็งค่าของเงินบาทอย่างมีนัย

ความเสี่ยงหลักของเศรษฐกิจไทยปี 2563 มี 3 ปัจจัย ได้แก่ ความไม่แน่นอนของสงครามการค้า ความเสี่ยงเชิงภูมิรัฐศาสตร์ และ ความเปราะบางทางการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจ ด้านสงครามการค้า แม้ล่าสุดจะมีข้อตกลงการค้าระยะแรกระหว่างสหรัฐฯ และ จีน(Phase-1deal)แต่นโยบายกีดกนัทางการค้าของสหรัฐฯยงัมีความไม่แน่นอนสงูและอาจกระทบต่อการค้าโลกได้อาทิการเจรจากะบจีนใน ระยะต่อไปการตอบโต้ทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับสหภาพยุโรป และการพิจารณาของสหรัฐฯในการตดัสทิธิ GSP ของหลายประเทศขณะที่ ความเสยี่งเชิงภูมิรัฐศาสตร์(geopoliticalrisks)โดยเฉพาะความขดัแย้งระหว่างอิหร่านและสหรัฐฯการประท้วงที่ยืดเยื้อในฮ่องกงและประเด็น Brexit ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกขณะที่ความเสี่ยงภายในประเทศคือความเปราะบางทางการเงิน ของภาคครัวเรือนและธุรกิจ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีหนีใ้นระดับสงู และการสร้างรายได้ถูกกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลง ด้านเทคโนโลยี (technologydisruption) และการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น


 

RELATED ARTICLES
- Advertisment -spot_img
- Advertisment -spot_img
- Advertisment -spot_img